Powered By Blogger

วันพฤหัสบดีที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

วิทยุชุมชนกับวิทยุท้องถิ่นไทย


คำแถลงการณ์กลุ่มวิทยุท้องถิ่นไทย ที่เป็นวิทยุประกอบอาชีพ สำหรับคนในชุมชนพื้นที่ ก็เป็นประเด็นอีกแนวทางหนึ่ง
ที่เราคณะวิทยุชุมชนคนนิบงต้องคิดหนัก
แม้นว่าเราเป็นวิทยุเพื่อการกุศลไม่ได้หวังกำไร ซึ่งรายการของเราที่ได้นำเสนอล่วนเป็นประโยชน์แก่ผู้ฟังไม่น้อย
แต่ในขณะเดียวกันเราก็จำเป็นต้องหาไรได้เพื่อสถานีวิทยุอยู่ได้
เห็นด้วยที่ต้องแปรสภาพเป็นวิทยุท้องถิ่น หากไม่กำหนดคลื่นความถี่ เราอาจจะเป็นวิทยุสาธารณะ หรือหรือวิทยุอะไรก็ได้ ที่ไม่ต้อง
ถูกบังคับ และขาดอิสระในการดำเนินการ
ในขณะเดียวกันกลุ่มวทยุท้องถิ่นไทย ก็อีกแนวทางหนึ่งที่เราต้องคิดไว้ หากไม่มีโฆษณา ถึงแม้รายการของเรา เน้นธรรมะ ที่ต้องการนำเสนอ สิ่งดีของคนในชุมชน ดั่งมีคำแถลงของกลุ่มวิทยุท้องถิ่นที่ต้องการให้จดทะเบียนและกำลังดำเนินการไม่ใช่วิทชุมชน แต่เป็นวิทยุประกอบอาชีพ มีคำแถลงดังนี้

ปัจจุบัน เราจะเห็นได้ว่า วิทยุกระจายเสียงทุกวันนี้ มีแทบจะทุกความถี่บนหน้าปัดวิทยุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตเมือง หรือ พื้นที่ที่มีประชากรหนาแน่น ไม่เว้นแต่ในพื้นที่ชนบทห่างไกล ซึ่งทั้งหมดถูก เรียกรวมกันว่า “วิทยุชุมชน” เป็นผลสืบเนื่องจากการประกาศเชิญชวนของกรมประชาสัมพันธ์เมื่อปี 2547 ทำให้ เกิดวิวัฒนาการ ด้านกิจการกระจายเสียง ถ้ามองในมุมบวก ถือเป็นการปฎิรูปสื่อโดยภาคประชาชนและเป็นการ กระจายความเป็นเจ้าของ สื่อที่ภาครัฐเคยถือครองทั้งหมด สู่เอกชนและภาคประชาชน เป็นผู้ประกอบการที่หลากหลาย แต่ในทางกลับกัน ก็ทำให้สร้างความสับสน และเมื่อเดือนมีนาคม 2551 พระราชบัญญัติประกอบกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ ปี 2551 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา โดยแบ่งไว้เป็น 3 ประเภท คือ ผู้ประกอบการบริการสาธารณะ ผู้ประกอบการบริการธุรกิจ และผู้ประกอบการชุมชน หลายฝ่ายคาดว่า พรบ.ฉบับนี้จะสามารถแก้ไข้ปัญหาทีเกิดขึ้นได้โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บทเฉพาะการ ได้ระบุให้จัดตั้งคณะกรรมการเพื่อออกใบอนุญาติชั่วคราวให้วิทยุชุมชน และกิจการที่ไม่ใช้ความถี่สามารถประกอบกิจการได้ต่อไป สมาคมผู้ประกอบวิชาชีพวิทยุท้องถิ่นไทย (วทท.)ไม่คัดค้าน แต่เห็นว่าการออกใบอนุญาตชั่วคราวเฉพาะวิทยุชุมชน(ที่ไม่มีโฆษณา) เพียงกลุ่มเดียว ไม่อาจจะแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ได้ จึงนำเสนอแนวทางไปยังคณะอนุกรรมการกิจการกระจายเสียงชุมชน ผ่านท่านประธานคณะอนุกรรมการ พ.อ. ดร.นธี สุกลรัตน์ เพื่อให้เห็นถึงปัญหาของวิทยุในปัจจุบันมีมากกว่าคำว่า วิทยุชุมชน
การกำหนดให้ขึ้นทะเบียน ผู้ที่ใช้คลื่นความถี่วิทยุที่มีอยู่ ทั้งหมดในปัจจุบันจนกว่าจะมีคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม(กสทช) ส่วนผู้ที่ประกอบกิจการ ธุรกิจสื่อท้องถิ่นก็จะต้องขี้นทะเบียนแสดงตัวตน การใช้คลื่นความถี่

วันอาทิตย์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2553

จัดงานเสวนาหัวข้อ “เวทีงาน 7 ปี วิทยุชุมชนคนนิบง”


เมื่อวันอังคารที่ 24 สิงหาคม 2553 ที่ผ่านมา วิทยุชุมชนคนนิบงจัดงานละศิลอดพร้อมกับเวทีครบรอบ 7 ปี ที่อยู่ควบตู่ชุมชนจังหวัดยะลา ในงานมีเวทีนำเสนอหัวข้อ “7 ปีวิทยุชุมชนคนนิบง ” ขึ้นภายในงานละศิลอด ณ ห้องอาหารยัสมืน อำเภอเมือง จังหวัดยะลา มีประกอบด้วยคณะบริหารวิทยุชุมชนคนนิบง เครือข่ายวิทยุชุมชนจำนวน 7 สถานีตัวแทนอบจ. ตัวแทน อบต. ตัวแทนชุมชนรัศมีออกอากาศ จำนวน 20 ชุมชน มีผู้เข้าร่วมเวทีจำนวน 200 คน โดยมี นายมันโซร์ สาและ ประธานเครือข่ายวิทยุชุมชนมุสลิม ให้เกียรติ์กล่าวเปิดงาน และมี
นายมูฮำมัด บิลหะยีอาบูบากา ผู้อำนวยการวิทยุชุมชนคนนิบง กล่าวต้องรับผู้เข้าร่วมเวทีและกล่าววัตถุประสงค์การจัดงานการเสวนาเริ่มต้นด้วย นางนูร์ยีลัน บิลหะยีอาบูบากา ประธานกลุ่มมสลีมะห์ จากมูลนิธิอาบูบักร์ ได้กล่าวถึงสื่อของชุมชนที่มีในจังหวัดยะลา วิทยุชุมชนคนนิบงถ้าหากเราฟังตลอดทั้งวันได้ความรู้มากมายรายการที่ทางวิทยุนำเสนอตลอดทั้งวันหากเราติดตามฟังเป็นเสมือนโรงเรียนในอากาศถึง หลังจากนั้น นายอับดุบรอหมาน ตูปะ ที่ปรึกษาวิทยุชุมชนคนนิบงจากชุมชนตลาดเก่า และ นางตูแวคอดีเยาะห์ กาแบ หัวหน้าสกว.ภาคใต้ตอนล่างศูนย์ประสานงานวิจัยอิสลามศึกษาและวัฒนธรรม สกว.ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น มาพูดคุยเจาะลึกเกี่ยวกับการบริหารจัดการวิทยุชุมชนคนนิบง และการบริหารสื่อวิทยุชุมชนคนนิบงในการจัดการบริหารแบบมีส่วนร่วม แถมงานนี้ คุณอับดุลอายี สาแม็ง รองนายกอบจ.ยะลาได้มาให้ขอเสนอแนะ และแนวทางการสนับสนุนเครือข่ายวิทยุชุมชนในจังหวัดยะลาในอนาคต หลังจากนั้น คุณสัมพันธ์ มูซอดี ประชาสัมพันธ์จังหวัดยะลา ได้กล่าวเสวนาผลการทำวิจัยภาคนิพนธ์ปริญญาโทจากสถาบันนิด้า หัวข้อเรื่อง” ความพึ่งพอใจของชุมชนตลาดเก่าต่อรายการวิทยุชุมชนคนนิบง 107.5 ”

ก่อนหน้านั้นได้มีคณะทีมวิจัยนิบงราดิโอได้นำเสนอสรูป เพาเวอร์ปอยตเรื่อง การบริหารสื่อชุมชนวิทยุชุมชนคนนิบงและการมีส่วนร่วมของชุมชน ที่เน้นประเด็นสื่อต่างๆ เช่น ประเด็นการศึกษา ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ตลอดจนประเด็นเยาวชน โรคเอดส์ ยาเสพติดเป็นต้น

วันศุกร์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

Midia melayu runtoh atau bangun



Midia melayu runtoh atau bangun
Semenjak kebelakang ini midia dalam kehdupan umat melayu di PNY atau di Fathoni atau di 3 wilayah umat melayu Islam diselatan Thai,dalam raba raba tidak tahu kearah mana akan pergi.
Sebab tidak ada midia jetak yang jadi minat umat melayu membaca seperti surat khabar dan buku majalah jetak dan lain-lain , yang dapat memaju otok minda orang melayu .
Memang kita tahu juga orang melayu di PNY keturunan melayu cakap melayu tetapi mereka kebanyakan tak pandai membaca dengan kerana sebab suasana bahasa mereka ini di tekan dengan midia bahasa thaiyang berbagai bentok yang di alami.
Sebenar rakyat melayu muslim3 w.diselatan thai ada gaya dan budaya sendiri , semua orang pandai membaca terutama sekali alquran,apabila pandai baca Alquran memanglah dia dapat pandai membaca bahasa melayu huruf jawi.
Kita kata orang yahudi dapat menghidupbahasa hibru yang dah hilang beriburibu tahun tapi mengapa umat melayu muslim dikuburkan bahasa melayu sendiri,
Buatlah apa saja demi membina jenesi baru yang cinta bahasa meraka di 3 w. ini .Jangan lah letak tugas ini kepada sesiapa saja ,kita semau pakatlah berusaha tanggujawab bersama .
Kerutuhahan bahasa melayu kita tak dapat lihat dengan berpeloktubuh masing masing menjari kejayaan hidup . Dan handaklah bersama dalam meningkatkan genbali bahasa ini,
Amat sedih sekali kita dapat melihat jika kita pergikesekolah agama dihari ini mereka takguna bahasa melayu lagi ,Jika kita masok kedalam dapat melihat papan tanda iklan dan lain semua guna bahasa thai,
Kuta amat seduh gyru sekolah tadika di kampong sedang mengajar murid murid mereka dengan guna bahasa melayu lagi, oleh kerana mereka tidak didik dengan cakapan bahasa melayu ,
Kita amat sedih jenerasi baru sekarang ini bila nak jadi dj.radio di nibang radio semuanya nakcakap bahasa siam ,
Duk sedih sehaja tak begitu baik, kita fakir bersama baru baru kita ada kursus bahasa melayu untok memjadi dj, etapimereka ini tak mahu pula …..
……….apa akan terjadi untuk bahasa ibunda kamu awak orang melayu ini dapat menujukan apa akan jadi di bumi Langkasuka ini,
Memang juga lah termasok orang yang tulis ranjana ini ,yang tidak pernah belajar bahasa melayu yang betul siapa yang baca tulisan ini haraplah takusah kira hanya saya juba untok menulis , jika ada sesiapanak simak perkataan yang saya tulis ini saya ucap ribuan terimakasih sepaya saya dapat belajar behasa ini , semasa saya sekolah dahulu memang ada mata pelejaran bahasa melayu di masa sekolah agama dula ,tapi mereka tidak titik berat kepada pelajar ,guru yang mengajar pun hanya dapat beri kenal huruf huruf sehaja ,guru yang berpengalaman khas yang mahir bahasa melayu tidak nampak ada di PNY ini,Aponak kata demo hak baca rancana ini.


MUFHA
Email:nibongfm@hotmail.com

วันพฤหัสบดีที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2553

วันกล้วยหินบันนังสตายะลา


21 – 6 – 53
อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา นับเป็นอำเภอหนึ่งที่มีชื่อเสี่ยงด้านการก่อความไม่สงบ ชาวไทยทุกคนหากได้ยินบันนังสตา จังหวัดยะลาแล้วฟังแล้วตกใจ เป็นแดนมิกสัญญี ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ท่ามกลางความปวดเร้า มีทั้งเลือดและน้ำตา มีธรรมชาติมากมาย แร่ดีบุก ยางพารา และที่นี้พื้นที่อุดมสมบูรณ์ด้วยกล้วยหิน ที่ไม่มี และมีไม่มากในพื้นที่อื่น
กล้วยหิน ฟังดูแล้ว รับประทานคงจะแข็งแปะ ฟ้นหักแน่ แต่ที่จริงแล้วกล้วยหิน มีรสชาติอร่อย นำไปต้มแล้ว มีหอมนวลนุ่ม รสหวาน ละมุนละไม อร่อยหอมปาก กินแล้วติดใจ
วันนี้มีการประกวดกล้วยหิน ที่ทางอำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา ก็ดีที่ได้สร้างภาพของคนบันนังสตา จังหวัดยะลา ในมุมมอมที่ดี ขอมอบกำลังใจให้ท่านผู้ว่ามาเปิดพิธี ชาวบันนังสตาเป็ชาวบ้านก็จริงทุกคนต้องการความสันติ ทุกคนมีความหวังให้เลิศเข่นฆ่ากัน ระหว่างพวกกันเอง หรือคนอื่นมาสร้างผลงานเพื่อผลประโยชน์พรรคพวคตนเอง

วันจันทร์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2553

منجاري جودوه

ขอเชิญร่วมรับฟังรายการวอนหาคู่
ทุกวันพุธเวลา 15.00-16.00 น.
สามารถดาวน์โลด์แบบฟอร์มหาคู่ที่
email:nibongfm@hotmail.com

วันพฤหัสบดีที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2553

เสนอให้นำเสนอเรื่องเศรษฐกิข

โครงการสื่อวิทยุชุมชนคนนิบงทบทวนจากการมุมมองของคนภายนอก ในขณะที่คนทำงานสื่อคนนิบงทำงานด้วยความเสียสละทางด้านเงินทุมและเวลา นอกจากจะนำเสนอออกอากาศให้คนนิบงได้ฟังสาระแล้วมีบันเทิงควบคู่สำหรับคนนิบง ของแท้ที่สนองความจ้องการของชุมชน
อ.เพิ่มศักดิ์
-สื่อมีสองด้าน บวก-ลบ
-เพิ่ม วิเคราะห์ให้ละเอียด ด้านกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาสื่อ การใช้ประโยชน์จากที่ฟัง
-บทบาทพี่เลี้ยง
-สื่อสาร/เขียนให้ชัดเจน เรียนรู้อย่างเป็นระบบ ยกระดับความรู้ไปเรื่อยๆ
-ข้อมูลเชิงปริมาณ สร้างเครื่องมือ -ไปวัด รวมทั้งการเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพอย่างเป็นระบบ
-การแยก –รวมข้อมูล (คิด-วิเคราะห์ -สังเคราะห์)
อ.ปิยะ
อ.ฉวีวรรณ
-ผู้ฟัง ผู้ฟังสนใจอะไร ส่งไปเขารับได้แค่ไหน
รองผู้ว่า
-ไม่พูดมิติทางเศรษฐกิจเลย สถานีมีบทบาทอย่างไร เช่น ราคาสินค้าในชีวิตประจำวัน
-องค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ เช่น การเพิ่มราคายาง
-บทบาทวิทยุชุมชนต่อการปรับวิธีคิด ทัศนคติ การให้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง

อ.ไชยัณ
-มีเวทีให้ชุมชนมาร่วมแลกเปลี่ยน ผ่านเสาอากาศ
-การคัดเลือกเนื้อหา ใครเลือก มีเรื่องผู้หญิง เศรษฐกิจ
ชุมชนมีความตระหนัก มีพื้นที่ของตนเอง การวิจัยต้องเป็นโปรเศษ (กระบวนการสื่อสาร) เพื่อทั้งหมดอยู่บริบทของคนที่ไม่พูดคุยเท่าไร ต้องโจทย์วิจัยให้ชัดวิจัยเพื่ออะไร อาจต้องเสริมเรื่องการบันทึก