Powered By Blogger

วันพุธที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2555

Solahudin Benteng pertahanan
การเมืองอียอปต์ เข็มข้น อุมัน สุไลมาน ต้องชนะการเลือกตั้ง อาจจะใช้กดโกง หากแก่ชนะจะมีการปฏิวัติครั้งที่สอง อีหม่านซาฟีอี ผู้ปฎิรูปศาสนาอิสลาม ควารู้วิชาอุซุลฟิกฮ์ ผ้แต่งหนังสืออัรรีซาละห์ ศตวรรษแห่งการฟื้นฟูอิสลาม- ท่านเป็นหนึ่งผู้ฟื้นฟูศาสนาอิสลามท่านมีหนังสือที่แต่งขึ้นมาเรียกว่า กีตาบออม หนังสือที่มีชื่อกีตาบโอมนี้ ท่านได้แต่งเป็นหนังสือของท่าน ตามประวัติศาสตร์ยุคของท่านปีฮิจเราะห์ที่ 105 การกำเนิดอีหม่านซาฟีอีในคืนเดียวกันกับการเสียชีวิตของอาบูฮานีฟะห์ ทดแทนคนใหม่ผู้มีความรู้ศาสนาอิสลามเกิดที่ปาเลสไตน์ เมืองอับกอลาม อาบูอับดุลเลาะห์ เชื้อสายท่านนบี เป็นตระกูล พ่อเสียชีวิต กลายเป็นลูกยาตีม ลำบาก และเป็นผู้หนึ่งที่มีประวัติฮิจเราะห์คือการเดินทางย้ายถิ่นมาก เป๊นคนมักกะห์ เผ่าฮุเซล เรียนรู้เกี่ยวกับภาษาอาหรับ เติบโตเก่งอ่านหนังสือ และเก่งในการยิงธนูเก่ง มีการพูดถึงท่านจะเก่งมากและแม่นในการยิงธนู หากยิงไปสิบดอก ถูกเก้าดอก ท่านเป็นคนอาลีมมีความจำดีมาก จำหมดทุกอย่างเมื่ออาจารย์สอน ทุกเรื่องทึกคำที่อุซตากพูดที่สอนท่านจะเก็บมาอธิบายได้หมด ท่านเป็นยอดคนที่มีความจำดีเลิศ ป้อมปราการซอลาฮูดดีน สร้าง 614 ยัลมูอคอตตอมปกป้องเมืองไคโร เป็นที่สูง เกิดที่ตัดรีบ เป็นแม่ทัพ
กุโบร์อีหม่ามซาฟีอี อีหม่านซาฟีอี เป็นศิษย์เอกกับอีหม่ามมาลิก กล่าวว่าจงละทิ้งการทำบาป หากทำได้จะเป็นอิหม่านที่ยิ่งใหญ่ แสงสว่างความรู้ แสงจะไม่ให้กับคนทำบาป มาลิดเสียชีวิตไปอยู่มักกะห์ มีคนขอไปสอนที่เยเมน เป็นมุฟตี จากนั้เกิดคีลาฟ กับกษัทริย์ อับดุลรอเซด อยู่เยเมนไปแบกแดด มีผู้รู้ ได้ยินดคนดังไปมักกะห์ แล้วไปอิรัก เขียนหนังสือ อัรรรีสาละห์ อาจารณมัซฮับ ไปอยู่อยิปต์สุดท้าย อยู่ที่มัสยิดอิบนูอัฟ ซูบฮ กุรอาน ตัฟซิร สอนฮาดิษ สอนปัญหา วันมี่ สอง อเลกวันเดรีย เมืองเจ้าสาวทะเลเมดิเตอรเรเนียม ได้เข้าชมวังกษัตริย์ อัลฟารุก เป็นวังที่มีห้องนอน 364 ห้อง นอนคืนละห้อง ชมสวนMuntazah Gardensจากนั้นไปละหมาดที่มัสยิด ที่ผู้สร้างหนังสือซันงีที่บ้านเรานำมาอ่านในเดือนเมาลิด เป็นมัสยิดที่ริมทะเลแห่งหนึ่งชื่อว่ามัสยิดอัลบูไซรี ดูห้องสมุดอเลกซันเดรีย(visit the Bibiliotheca Alrexandria) เป็นห้องสมุดที่ใหญ่ที่สุดในโลก เป็นห้องสมุดเก่าแก่ สมัยโรมัน เคยมาเผ่าบางส่วน มียูเนสโกมาซ่อมแซมมีวิศวะมาออกแบบมาจากสามประเทศ มีหนังสือจากทั่โลกทุกภาษา แปดล้านเล่ม

วันเสาร์ที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2555

อ่านหนังสือไม่ออกที่ฟาตอนีดารุสสาลาม

อ่านหนังสือไม่ออก
อาบีนูร์


มีการกล่าวหาว่าคนมลายูมุสลิมในเขตฟาตอนีดารุสสาลาม อ่านหนังสือไม่ออก อ่านภาษาไทยไม่ได้จำนวนมาก และผลการสำรวจเด็กมลายูชั้นม.1 อ่านหนังสือไม่ออกเป็นจำนวนมาก และตามปอเนาะที่จัดการศึกษามีหลากหลายเรียนหลายภาษามีภาษาอังกฤษมลายูอาหรับในที่ใช้การไม่ได้สักภาษา เด็กนักเรียนที่จบปอเนาะโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาเรียนคุยโอ้อวดว่าสอนสี่ภาษา แต่หารู้ว่าไม่สามารถนำไปใช้งานไม่ได้สักภาษาเดียว
Melayu Muslim orang telah dituduh di kawasan Fathoni Darusalam, semua nya dikatakan takpandai,Tak boleh membaca bahasa Thai. Dikatakan. Ramai yang tidak dapat membaca dalam bahasa Thai. Keputusan kajian bagi pelajar di sekolah pondok tingkatan1. Jumlah satu kelas kebanyakan tak dapat membaca bahasa Thai,. Terdapat dalam pengajian dan bahasa akademik Pondok ada belajar Bahasa Inggeris, Bahasa Arab, Bahasa Melayu adalah bahasa yang digunakan. Pelajar yang melengkapkan sekolah-sekolah Pondok yang mengajar kelas-kelas agama memiliki empat bahasa,. Tetapi kita dapat pakat mangatakan dapat guna ampat bahasa tetapi tidak dapat mencari satu pun untuk menjadi bahasa digunakan dengan baik..



ภาษาไทยยี่งหนักสาหัสเด็กในห้องม.1จำนวน 45 คน ทางสจ.ยะลาได้เข่ไปเทสให้อ่าน เขียนผลออกมา สามารถอ่านออกเขียนได้ ห้องละไม่เกิน 5-7 คน โรงเรียนต้องสอนเตรียมความพร้อมทางรัฐให้งบสอนเสริมการอ่านอีกจำนวนหนึ่ง สอนจริงบ้างไม่จริงบ้างตามอัธยาศัยของโรงเรียน
Bahasa Thai yang ingin menjadi bahasa untok orang melayu pun satu ketara sekali dibilek darjah kelas tingkatan 1 seramai 45 orang. hanya dapat menuulis darn membaca hanya. 5-7 orang .Apabila menerima palajar baru masok sekolah pihak kerajaan menyediakan pelajar untuk menekan sepaya pandai baca menulis Thai. .ada atau tidak benar mengajar atau tidak itu terserah lah. .


การอ่านหนังสือภาษาไทยไม่ออกก็เป็นอีกปัญหาหนึ่งของการศึกษาไทย กลายเป็นวิบากรรมของคนเชื่อสายมลายูที่ต้องมาเรียนภาษานี้ แต่ขณะเดียวกันคนเชื้อสานมลายูมีภาษาของตนเองอยู่แล้วหากพัฒนาก็ไม่อยาก เพราะภาษามลายูไม่ใช่ภาษาถิ่น เป็นภาษาวิชาการมานานนับปีนับศตวรรษแล้ว
มีการกล่าวว่าคนในสามจังหวัดอ่านหนังสือไม่ออก แต่การพูกเช่นนี้ขาดข้อมูลข้อเท็จจริงของความเจริญด้านการศึกษาของคนมลายูอิสลามในภาคพื้นอเซียแปซิฟิกตั้งแต่กัมพูชาจนถึงฟิลลิปินอิสลามได้เข้ามา 400-500 ปี และทำให้คนมลายูรับอุดมการณ์อิสลามก่อนการเข้ามาของตะวันตก อัลกุรอานได้เผยแผร่มุสลิมต้องมีอัลกุรอานเป็นแนวทางการดำเนินชีวิต มุสลิมต้องอ่านอัลกุรอานได้ มลายูมุสลิมในไทยตอนที่เป็นอาณาจักรปาตอนีมีอุลามาอชื่ออับดุลกอเดร์อัลฟาตอนีได้เพิ่มตัวอักษรอาหรับหลายตัวเพื่อให้สอดคล้องกับการอ่านออกเสียงภาษามลายูให้ถุกต้องและทำให้ชาวมลายูได้นำอักษรพยัญชนะอาหรับมาใช้ประยุกต์กับภาษามลายูเรียกว่าอักษรยาวี(Tulisan Jawi)จนกลายเป็นภาษานานาชาติของคนนูซันตารามานมนานแล้ว
แต่ด้วยอิทธิพลของบริษัทฮอลันดาเข้ามาแสวงหาสินค้าในชวาและเข้าครอบครองอินโดนีนีเซียชาวมลายูถูกแบ่งเป็นประเทศต่างๆ และชาวดัษซ์มะสาและห์นำภาษาอังกฤษประยุกต์ใช่กับภาษามลายู ทำให้หนังสือทางวิชาการยาวีถูกหลงลืมสำหรับคนรุ่นใหม่ และปัจจุบันภาษามลายูได้ใช้อักษรโรมันจนถึงวันนี้
อัลกุรอานเป็นธรรมนูญของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมทั่วโลกมีกุรอานไม่ใช่เก็บไว้ในตู้เฟอร์นีเจอร์ อัลกุรอานเป็นหลักการหนึ่งของผู้นับศาสนาอิสลามต้องศรัทธายึดถือปฏิบัติ และต้องอ่านทุกวัน และต้องนำคำประโยคต่างๆในอัลกุรอานมาพูดคุยต่อหน้าพระพักษ์ของพระเจ้าทุกวันๆละห้าเวลา
คำพูดโองการของพระเจ้าเป็นภาษาอาหรับ มีคำเขียนสามารถนำประยุกต์ใช้ ชาวมุสลิมเชื้อสายมลายูสามารถอ่านหนังสือออกมานมนานแล้ว จนกระทั่งว่ารุ่นโตะกี โต๊ะแชมาสอนคนรุ่นใหม่ สอยอัลกุรอาน สอนหนังสือให้อ่านออกเขียนได้ ปอเนาะมีหนังสืออีกษรอาหรับยาวีมาเรียนอ่านกันทั่วปอเนาะ แต่ก่อนการเข้ามาภาษาไทยคนมลายูวัยรุ่นจะส่องจดหมายด้วนภาษามลายูอักยาวี แม้แต่โรงเรียนฮัจยีอารุน ปอเนาะโรงเรียนธรรมเมื่อ 30-40 ปีรุ่นพ่อยังมีหนังสืออนุสรณ์เขียนด้วยอักษรยาวี แต่ด้วยอิทธิพลภาษาไทยนี้ปัจจุบันสูญหายหมดแย้ว(แล้ว)
การกล่าวเท็จหาว่าไม่ได้ภาษาอะไรสักอย่าง หากชาวมลายูมุสลิมมีจิตวิญญาณอัลกุรอาน ไม่ทอดทิ้งอัลกุรอาน สามารถใช้ภาษาอาหรับได้ เขียนมลายูยาวีได้ ไม่เวอร์กับภาษาไทยมากนัก มาเลเซียก็ไม่เวอร์กับภาษารูมีมากนัก หากทิ้งอัลกุรอานไม่ยอมอ่านกุรอานแน่นอนลูกหลานมลายูอ่านหนังสือมลายูยาวีไม่ได้ หากคนรุ่นใหม่อ่านอุลกุรอานได้แน่นอนใช้ภาษามลายูยาวีไม่ยากแต่เมื่อทิ้งอัลกุรอานไม่ยอมอ่านกุรอานภาษาอาหรับ ก็เป็นปัญหา เมื่อคนมุสลิมนิยมอ่านด้วยภาษาอื่น ทำให้ทอดทิ้งภาษาอาหรับ ทำให้ปัจจุบันเด็กรุ่นใหม่ อ่านกุรอานไม่ได้ เพราะไปเน้นอ่านภาษาอื่น หากมารณรงค์ใช้ภาษามลายูอักษรยาวีแน่นอน ลูกหลานมุสลิมจะอ่านมลายูยาวีคล่อง แล้วใครบอกชาวมลายูมุสลิมฟาตอนีดารุสสาลามอ่านหนังสือไม่ออก

วันศุกร์ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2555

ผลโอเนทวิบาทกรรมของสุงคมไทย ต่อการนำการศึกษามลายูมุสลิม


โอเนท…โอ....โอโหเนท
อาบีนูร์

การศึกษาไทยในปัจจุบันอยู่ท่ามกลางสังคมโลกและทางตัน เพราะผลการเรียนของนักเรียนนักเรียน ม.6 ตกผลการสอบของนักเรียนระดับประเทศ สภาพการศึกษาอาการสาหัส ทางหน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบอยู่ก็พยายามจัดระบบการจัดการพัฒนาต่างๆทั้งครูก็แล้ว พัฒนาเด็กเลี้ยงนมฟรีแล้ว อาคารก็ทาสีใหม่แล้วเป็นโรงเรียนสีขาวทั่วหน้า หลักสูตรก็พัฒนาแล้ว แต่ผลโอเนทกลับตกต่ำ ส่อถึงอาการการศึกษาโคม่าไร้ทิศทาง กำหนดเป้าผิด หวังแต่ให้เด็กได้คะแนนสูง แต่เป้าที่กำหนดนั้นผิด ผลของจัดการศึกษาด้วยการปฏิรูปที่ผ่านมาการดำเนินการทั้งหมดนั้นย่อมไม่ส่งผลตามที่ต้องการ นี่คือสภาพของคุณภาพที่เอาคะแนนโอเนทชี้วัดนั้นคือการศึกษาของไทยกำลังประสบกับการเผชิญหน้ากับปัญหามากมาย เสมือนจนตรอก
การศึกษาไทยหากเทียบกับคน ก็ถือได้ว่าอยู่ในอาการป่วยหนักใกล้ตาย หลักสูตรที่เหล่านักวิชาการพยายามจะสร้างคนไทยในอนาคต เยียดเข้ากำหนดให้เด็กไทยต้องเรียนมากมายโดยเฉพาะหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานมีสาระวิชา 8-9 กลุ่มสาระวิชาทั้งๆที่บางประเทศมีไม่ถึง 5 สาระ แต่สร้างคนตุณภาพได้ แต่เด็กไทยนักวิชาการพยายามยัดสาระต่างๆให้เด็กรู้หมด ผลคือเด็กนักเรียนต้องรับภาระแบกหนังสือเอวคดหลังโคงเพื่อสนองความต้องการของนักวิชาการว่าจะสร้างคนไทยรุ่นใหม่เป็นคนสติปัญญารอบรู้ แต่กลับตละปัดกลายเป็นคนมีสติปัญญาต่ำ ทั้งๆ ที่ตอนเกิดมาฉลาดดี แต่เมื่อเข้าไปผ่านระบบการศึกษา กลับเป็นคนโง่
ในวงารศึกษาของชาติ และมักจะมองว่าในสามจังหวัดชายแดนแดนเด็กอ่านหนังสือไทยไม่ได้ ระดับ ม.๑ เด็กในโรงเรียนปอเนาะหรือเอกชนศาสนา อ่านได้ ๕-๑๐ ตน บ่งบอกระบบการศึกษาและโรงเรียนรัฐเองก็ไม่ต่างเช่นกัน หากมองโรงเรียนที่อยู่เมืองก็อ่านหนังสือไม่ได้เยอะแยะไม่ใช่เฉพาะสามจังหวัด
ความคิดเห็นของผู้ปฎิบัติเจ้าหน้าที่รัฐหรือหน่วยราชการมีมากมายทุ่มเท่งบประมาณอ้างโครงการอ่านภาษาไทยผลาญสู่มือกลุ่มพรรคคนเหล่านี้ แต่กลับโยนความผิดให้โรงเรียนปอเนาะว่าจัดการศึกษาไม่ดี และมักจะโทษโต๊ะครูอุซตาดที่สอนในโรงเรียนปอเนาะว่าขาดคุณภาพ ไม่เน้นการอ่านภาษาไทย ที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะกิจกรรมส่วนใหญ่เข้าไปส่งเสริมกิจกรรมมากมาย ซึ่งเป็น“กิจกรรมรายทาง” ที่จะไม่มีผลกระทบโดยตรง ต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนรู้ (Learning Outcome) ของนักเรียน เราเสียเวลาและทรัพยากรต่างๆ ไปกับกิจกรรม ที่ไม่สำคัญ ไม่ใช่เงื่อนไขหลักหรือปัจจัยหลักที่จะส่งผลให้ได้ Learning Outcome ที่ดี
เราลองมาลองคิดดูว่า การกำหนดเป้าผิด แล้วยิงถูกเป้า ได้คะแนนสูง เครื่องมือที่วัดเป้นอย่างไร ทุกปีผลออกมาแย่ลง แต่เป้าที่กำหนดนั้นผิด ผลก็คือการดำเนินการทั้งหมดนั้นย่อมไม่ส่งผลตามที่ต้องการ นี่คือสภาพทีเป็นจริงในวงการศึกษาของไทยกำลังเผชิญอยู่
เป้าที่วงการศึกษาไทยเล็งอยู่นั้นเป็น “เป้าทุติยภูมิ” ที่เราเชื่อกันว่าหากยิงถูกเป้านี้ ผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษา (LO) จะดีขึ้น แต่ในความเป็นจริงแล้ว ส่งผลต่อ LO น้อยมาก หรือบางเป้าไม่มีผลเลย คือเป็นเป้าที่ผิดนั่นเอง
จุดคลิกของการศึกษาไทยจึงอยู่ที่การดำเนินการเล็งเป้าจริง หรือเป้าปฐมภูมิ คือ LO หรือหากจะอ้างว่าเป้าทุติยภูมิที่ตนกำลังเล็งอยู่นั้น จะส่งผลต่อ LO ก็ต้องทำวิจัย เก็บข้อมูล เพื่อพิสูจน์ ต้องไม่อ้างลอยๆ และต้องไม่ลืมว่า ต้องเป็น LO สมัยใหม่ คือ 21st Century Skills
การศึกษาหันหน้าเข้าสู่สังคม การศึกษาสนองใคร เพื่อใคร สังคมชุมชนมีปัญหา นำระบบการศึกษาไปแก้ได้หรือไม่ โดยเฉพาะการศึกษาที่เนื้อหาวิชาการที่ไม่มีสาระ และไม่สอดคล้องของสังคมในสามจังหวัด การศึกษาในสามจังหวัดรัฐขัดสวนทางกับสังคม สังคมมีปัญหาไม่ได้นำการศึกษาไปแก้ การเน้นแต่อ่านออกภาษาไทยได้ไม่ไช่ทางแก้ปัญหาอย่างแท้จริง
การศึกษาไทยเพื่อใคร สังคมชุมชนสามารถแก้ปัญหาหรือสร้างปัญหา รัฐมองสามจังหวัดมีปัญหา แน่ละการศึกษาไทยกับการศึกษาของชุมชนไปคนละทิศคนละทาง ไม่ได้เอาสังคมเป็นตัวตั้ง กล่าวโทษการศึกษาเป็นปัญหาสามจังหวัด ระบบการศึกษาจากส่วนกลางเองอาการสาหัส สังคมไทยมีปัญหา มีความขัดแย้ง ภาคใต้ ภาคอีสาน สังคมตีกันเอง รัฐจัดการศึกษาสนองมความต้องการอะไร นำวิชาสาระไปแก้ปัญหาอย่างไร การศึกษาได้แก้ปัญหาของชีวิตจริงหรือ เห็นแต่เอาแต่ท่องจำสูตรต่างๆ สวนทางกับชีวิตจริง สภาพจริงและผู้เรียนเองมีภาระมากมายเสียเวลาต้องมาจำกับสิ่งที่ไร้สาระ เรียนจบปริญญาในที่สุดต้องมากรีดยาง

วันจันทร์ที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555

นิบงราดิโฮเชื่อมโยงสร้างเครือข่าย



นิบงราดิโอขยายเครือข่ายสร้าง เครือข่ายวิทยุชุมชนมุสลิมชายแดนใต้ เพื่อสนองความต้องการของชุมชนท้องถิ่น เน้นบริบทภาษามลายูท้องถิ่น
ในขณะเดียวกันได้มีแนวความคิดที่จะสร้างเชื่อมใยงร่วมกันกับวิทยุชุมชนบางช่วง โดยจะร่วมมืแกบวิทยุกำปงราดิโอที่บันนังสตาคลื่นความถึ 99.5 ครอบคลุมอำเภอบันนังสตา กรงปีนัง รามัณ ห้วยกระทิง จะเนินความรู้ศาสนาข่าวในชุมชน
รายการที่จะเน้นต้องปรับปรุงเน้นบันเทิงที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชนและเป็นศูนย์เรียนรู้วิทยุชุมชน เป็นวิทยุเพื่อการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
นายมูฮำมัด บิลหะยีอาลบูบากา ผู้อำนวยการวิทยุชุมชนคนนิบงกล่าวว่า"การดำเนินงานวิทยุชุมชนคนนิบงตลอดเวลาแปดปีมาดำเนินการมาไม่มีกำไรพอิยู่ได้ประคับลประคองมาได้ มาการสนับสนุนของชุมชน"
"การประชะมที่ผ่านมาเรามีการนำเสนอ การนำสัญญาณออกอากาศ และเพี่มบริเวณร่วมมือกับวิทยุกำปงราดิโอเพื่อจะได้นำเสนอรายการในรูปแบบเครือข่ายของสถานีในชุมชนต่อไป